หน้าหลัก

องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย

::ดรรชนี::

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สังคม

  • ข้อ1. มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด
  • ข้อ2. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน
  • ข้อ3. มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย
  • ข้อ4. มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย
  • ข้อ5. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย
  • ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ระกระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

  • ข้อ1. มีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบัน
  • ข้อ2. มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ
  • ข้อ3. มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคม
  • ข้อ4. มีการนำผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชาการ
  • ข้อ5. มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่สู่สาธารณชน
  • ตัวบ่งชี้ที่ 5.0.2 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

  • ข้อ1. มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร
  • ข้อ2. บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
  • ข้อ3.ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
  • ข้อ4. ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร
  • ข้อ5. มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง

  • ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ระบบและกลไกในการบริการวิชาการแก่สังคม






    ข้อ

    เกณฑ์การประเมิน

    ผลการดำเนินงาน

    รหัสเอกสาร ( Download )

    ตัวอย่างเอกสารหลักฐาน

    ฝ่ายวิจัยฯและสถาบัน ทรัพยากรธรรมชาติฯ ดำเนินการ

    คณะดำเนินการ

    1

    มีระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด

    มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน

    มีการวางแนวทาง ขั้นตอน และหลักเกณฑ์ของการให้การบริการวิชาการด้านต่างๆ ที่สัมพันธ์กับพันธกิจของหน่วยงานและมหาวิทยาลัย มีนโยบายส่งเสริม สนับสนุนและจูงใจให้อาจารย์ บุคลากรทุกระดับมีความพร้อมทั้งในด้านความรู้ ความเชี่ยวชาญ เวลาและจิตแห่งการบริการ ในการให้บริการวิชาการแก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกสถาบัน รวมถึงจัดหางบประมาณสนับสนุนและจัดทำระเบียบของการให้บริการ มีการวางแผน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินเพื่อนำไปสู่การปรับปรุงคุณภาพของการให้บริการอย่างสม่ำเสมอเพื่อบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

    5.1-1-01

    ยุทธศาสตร์และแผนกลยุทธ์ด้านบริการวิชาการของมหาวิทยาลัย

    /

    5.1-1-02

    แผนปฏิบัติงานประจำปีของหน่วยงานและมหาวิทยาลัย

    /

    /

    5.1-1-03

    เอกสารแสดงงบประมาณสนับสนุนการบริการวิชาการแก่สังคม

    /

    /

    5.1-1-04

    รายชื่อโครงการบริการวิชาการที่ได้รับอนุมัติตามแผนปฏิบัติงาน

    /

    /

    5.1-1-05

    แบบสรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมายในเชิงปริมาณและคุณภาพ

    /

    5.1-1-06

    รายงานการวางแผน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลการบริการวิชาการ

    /

    5.1-1-07

    ฐาน ข้อมูลอาจารย์ประจำที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ วิชาชีพในระดับชาติหรือระดับนานาชาต ิ

    /

    5.1-1-08

    ฐาน ข้อมูลอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนมีส่วนให้บริการวิชาการแก่สังคม (วิทยากร/เขียนบทความวิชาการเผยแพร่ทางรายการวิทยุ)

    /

    5.1-1-09

    คู่มือระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ฉบับที่ 2

    /

    5.1-1-10

    คู่มือปฏิบัติงาน “การบริการวิชาการแก่สังคม”

    /

    5.1-1-11

    แบบสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือหน่วยวิชาชีพ (Srivijaya FM 05-01)

    /

    5.1-1-12

    แบบเสนอโครงการบริการวิชาการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณโครงการบริการวิชาการแก่สังคม (Srivijaya FM 05-02)

    /

    5.1-1-13

    แบบฟอร์มขอรับการบริการวิชาการ (Srivijaya FM 05-03)

    /

    5.1-1-14

    แบบฟอร์มการประเมินโครงการบริการวิชาการ (Srivijaya FM 05-04)

    /

    5.1-1-15

    แบบประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม (Srivijaya FM 05-05)

    /

    5.1-1-16

    ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ว่าด้วยการบริการวิชาการ พ.ศ.2552

    /

    5.1-1-17

    ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ว่าด้วยการบริการวิชาการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2554

    /

    5.1-1-18

    ประกาศมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษา การนำส่งเงิน และการบันทึกบัญชีโครงการบริการทางวิชาการ

    /

    5.1-1-19

    คำสั่งสภามหาวิทยาลัยฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริหารการบริการทางวิชาการ

    /

    5.1-1-20

    คำสั่งมหาวิทยาลัยฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการยกร่างประกาศมหาวิทยาลัยฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการจัดทำโครงการบริการวิชาการ

    /

    5.1-1-21

    คำสั่งมหาวิทยาลัยฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประสานงานด้านการบริการวิชาการ

    /

    5.1-1-22

    คำสั่งมหาวิทยาลัยฯ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการบริการวิชาการ

    /

    2

    มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน

    มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานประจำด้านอื่นๆ ของอาจารย์และบุคลากร เช่น การกำหนดให้นักศึกษานำความรู้ไปจัดทำเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน

    5.1-2-01

    รายชื่อโครงการบริการวิชาการที่ระบุการบูรณาการกับการเรียนการสอน

    /

    5.1-2-02

    รายงานการกำหนดให้นักศึกษานำความรู้ไปจัดทำโครงการ/กิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชน

    /

    5.1-2-03

    เอกสารกำหนดใน มคอ.๓ หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผลการเรียนรู้

    /

    5.1-2-04

    เอกสารที่รายงานใน มคอ.๕ หมวดที่ ๒ การจัดการเรียนการสอนที่เปรียบเทียบกับแผนการสอน

    /

    5.1-2-05

    แบบประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม (Srivijaya FM 05-05)

    /

    3

    มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย

    มีการบูรณาการงานบริการทางวิชาการกับการวิจัยอย่างเป็นระบบ เช่น

    1) มีการนำผลการวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์จริงที่ตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วนในทุกระดับ และ

    2) นำความรู้ประสบการณ์ จากการให้บริการกลับมาพัฒนาต่อยอดไปสู่การพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ผ่านกระบวนการวิจัย

    5.1-3-01

    รายชื่อโครงการบริการวิชาการที่ระบุการบูรณาการกับการวิจัย

    /

    5.1-3-02

    รายงานการนำผลการวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์จริงที่ตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วน

    /

    5.1-3-03

    รายชื่อโครงการวิจัยที่ได้พัฒนาต่อยอดมาจากการบริการวิชาการ

    /

    5.1-3-04

    แบบประเมินความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม (Srivijaya FM 05-05)

    /

    4

    มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

    4.1 มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน

    4.2 มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัยจัดให้มีระบบติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยให้มีส่วนร่วมของผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ และนักศึกษา ซึ่งเป็นทั้งผู้ให้บริการและผู้รับบริการ ทั้งในระดับแผนการดำเนินงาน เป้าหมายของคณะ ความร่วมมือร่วมใจของบุคลากร คุณภาพของบุคลากร คุณภาพของการให้บริการที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่สถาบันกำหนดไว้

    5.1-4-01

    แบบประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการแก่สังคม (Srivijaya FM 05-05)

    /

    /

    5.1-4-02

    รายงานการติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน (Srivijaya FM 05-05)

    /

    5.1-4-03

    ผลการประเมินแผนการสอนของรายวิชาที่มีการบูรณาการ หรือ แบบ มคอ.๕

    /

    5.1-4-04

    รายงานการติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย (Srivijaya FM 05-05)

    /

    5.1-4-0 5

    หลักฐานแสดงการนำผลการวิจัยไปสู่การใช้ประโยชน์จริงที่ตอบสนองความต้องการของทุกภาคส่วน

    /

    5.1-4-06

    แบบฟอร์มการประเมินโครงการบริการวิชาการ (Srivijaya FM 05-05)

    /

    /

    5.1-4-07

    สรุปรายงานการประเมินโครงการบริการวิชาการ (Srivijaya FM 05-04)

    /

    5

    มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย

    5.1 มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน

    5.2 มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย

    นำผลการประเมินไปพัฒนาแผน พัฒนากระบวนการ และผลสัมฤทธิ์ที่ได้อย่างสม่ำเสมอและเป็นรูปธรรม

    5.1-5-01

    รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะ ในด้านสรุปผลการประเมินผล

    /

    5.1-5-02

    แผนการปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการเรียนการสอน ในแผนการปฏิบัติงานประจำปีถัดไป

    /

    5.1-5-03

    แผนการปรับปรุงการบูรณาการงานบริการทางวิชาการแก่สังคมกับการวิจัย

    /

    5.1-5-04

    หลักฐานแสดงโครงการที่มีการนำผลการประเมินไปพัฒนาแผน พัฒนากระบวนการ และผลสัมฤทธิ์ที่ได้ในแผนการปฏิบัติงานประจำปีถัดไป

    /


    ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

    ข้อ

    เกณฑ์การประเมิน

    ผลการดำเนินงาน

    รหัสเอกสาร

    ( Download )

    ตัวอย่างเอกสารหลักฐาน

    ฝ่ายวิจัยฯและสถาบัน ทรัพยากรธรรมชาติฯ ดำเนินการ

    คณะดำเนินการ

    1

    มีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกำหนดทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของสถาบัน

    มีการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกำหนดทิศทาง และมีการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นของหน่วยงาน

    5.2-1-01

    แบบสำรวจความต้องการการรับบริการวิชาการ

    /

    5.2-1-02

    แบบเสนอโครงการบริการวิชาการตามแผนยุทธศาสตร์

    /

    5.2-1-03

    แบบสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ เพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ทิศทางและการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของหน่วยงาน

    /

    5.2-1-0 4

    สรุปรายงานการสำรวจความต้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพเพื่อประกอบการกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์และทิศทางการบริการวิชาการ

    /

    5.2-1-0 5

    เอกสารที่แสดงถึงความสอดคล้องระหว่างการจัดทำแผนการบริการทางวิชาการตามจุดเน้นและความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของหน่วยงาน หรือแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน

    /

    2

    มีความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ

    มีการเชิญหรือเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมจากชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพที่จะให้บริการ มาร่วมมือรวมพลัง (Collaboration) ในลักษณะของการสร้างเครือข่าย(Networking) ระหว่างบุคคลหรือหน่วยงานในรูปแบบต่างๆ เช่น ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการนำผลการวิจัยไปเป็นส่วนหนึ่งของการปรับปรุงปัญหาที่เกิดขึ้นหรือไปใช้พัฒนาบุคลากรของสถานประกอบการหรือส่วนการผลิต มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้คำปรึกษาแนะนำและจัดให้มีช่องทางในการสื่อสาร ทำความเข้าใจร่วมกันของภาคอุตสาหกรรม หรือ ริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใหม่ๆ ในชุมชน

    5.2-2-01

    หลักฐานแสดงการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมจากชุมชน ภาครัฐ ภาคเอกชน หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพที่จะให้บริการ มาร่วมมือในลักษณะของการสร้างเครือข่าย เช่น

    จดหมายเชิญผู้แทนจากภาครัฐ เอกชนเข้าร่วมกิจกรรมด้านบริการวิชาการ

    /

    5.2-2-02

    หลักฐานแสดงการสร้างเครือข่ายระหว่างหน่วยงาน

    /

    5.2-2-03

    กิจกรรม/โครงการความร่วมมือด้านบริการทางวิชาการเพื่อการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน หรือภาคเอกชน หรือภาครัฐ หรือหน่วยงานวิชาชีพ

    /

    5.2-2-04

    รายงานผลการจัดกิจกรรม/โครงการ

    /

    3

    มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคม

    มีการประเมินประโยชน์หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการต่อสังคมว่าสอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการทั้งทางตรงและทางอ้อม มีการประเมินผลที่เกิดกับนักศึกษา อาจารย์ และบุคลากรผู้ให้บริการ ทั้งในด้านการนำความรู้ ความเชี่ยวชาญไปใช้ประโยชน์ การสื่อสาร การชี้แจงแนะนำให้ผู้รับบริการและประชาชน

    5.2-3-01

    สรุปรายงานการประเมินประโยชน์ หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการที่จะเกิดต่อสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ทางตรง (FM 05(Srivijaya FM 05-01)

    /

    5.2-3-02

    สรุปรายงานการประเมินประโยชน์ หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการที่จะเกิดต่อสังคมที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ ทางอ้อม (FM 05(Srivijaya FM 05-01)

    /

    5.2-3-03

    รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะ พิจารณารายงานการประเมินประโยชน์ หรือผลกระทบของการให้บริการทางวิชาการที่จะเกิดต่อสังคม เพื่อนำไปสู่พัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง (มติที่ประชุม)

    /

    4

    มีการนำผลการประเมินในข้อ 3 ไปพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชาการ

    ได้มีการนำผลการประเมินการให้บริการทางวิชาการไปพัฒนาคุณภาพมาตรฐานของการให้บริการระบบและกลไกการให้บริการ ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบการให้บริการ ขอบเขตการให้บริการ ค่าใช้จ่ายระยะเวลาในการให้บริการ สัญญาการบริการ ซึ่งรวมทั้งการควบคุมและการกำกับคุณภาพของการให้บริการ โดยจัดให้มีระบบการให้ข้อมูลที่ชัดเจน มีความเป็นธรรม โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้

    5.2-4-01

    เอกสารแสดงถึงการจัดทำแผนพัฒนาระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชาการตามผลการประเมิน (รายงานการประชุม)

    /

    5.2-4-02

    โครงการบริการวิชาการที่มาจากแผนพัฒนา ระบบและกลไก หรือกิจกรรมการให้บริการทางวิชาการตามผลการประเมิน

    /

    5.2-4-03

    เอกสารหรือหลักฐานแสดงให้เห็นระบบการควบคุมและการกำกับคุณภาพที่หน่วยงานใช้ในการกำกับดูแลกิจกรรมการให้บริการ

    /

    5

    มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการและถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรภายในสถาบันและเผยแพร่สู่สาธารณชน

    5.1 มีการพัฒนาความรู้ที่ได้จากการให้บริการทางวิชาการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการในการถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากรภายในสถาบัน ซึ่งรวมทั้งผู้เรียนด้วย จัดให้มีการแลกเปลี่ยนความคิดและเผยแพร่ประสบการณ์ในการให้บริการผ่านทางสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ รวมทั้งจัดทำฐานข้อมูลการบริการวิชาการเผยแพร่สู่สาธารณะ

    5.2-5-01

    เอกสารที่แสดงถึงองค์ความรู้ที่ได้มีการพัฒนาขึ้นจากการให้บริการวิชาการ ได้แก่ ผลผลิต ผลลัพธ์ที่คาดหวังจากวัตถุประสงค์ของโครงการ

    /

    5.2-5-02

    กิจกรรมที่มีลักษณะการถ่ายทอดองค์ความรู้สู่บุคลากรภายในหน่วยงานรวมทั้งผู้เรียน เช่น กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่ระบุในบันทึกการสอน หรือ มคอ.๕ หรือรายการวิทยุ แผ่นผับสรุปผลจากการบริการวิชาการ

    /

    5.2-5-03

    ระบบฐานข้อมูล หลักฐานแสดงวิธีการเผยแพร่ประสบการณ์ผ่านทางสื่อการเรียนรู้ผ่านเว็บไซต์

    /

    /

    5.2-5-04

    การสร้าง web blog เพื่อแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้จากการบริการวิชาการสู่สาธารณะ

    /

    /

    5.2-5-05

    รายงานการประชุมคณาจารย์ประจำเดือนรับทราบผลการดำเนินการและถ่ายทอดความรู้สู่บุคลากร

    /

    5.2-5-06

    การประชาสัมพันธ์โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน

    /


    ตัวบ่งชี้ที่ 5.0.2 ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

    ข้อ

    เกณฑ์การประเมิน

    ผลการดำเนินงาน

    รหัสเอกสาร

    ( Download )

    ตัวอย่างเอกสารหลักฐาน

    ฝ่ายวิจัยฯและสถาบัน ทรัพยากรธรรมชาติฯ ดำเนินการ

    คณะดำเนินการ

    1.

    มีการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร

    มีการดำเนินการโครงการที่มีผลต่อการพัฒนาชุมชนและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเป็นไปตามวงจรคุณภาพ (PDCA) โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนหรือองค์กร ดังนี้

    1. แผนการดำเนินโครงการ ซึ่งมีการกำหนดตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย

    2. การดำเนินการตามแผนและรายงานผลการดำเนินการตามแผน

    3. การประเมินผลการดำเนินการตามแผน

    4. การปรับปรุงแผนหรือการดำเนินโครงการ

    5. รายงานผลการดำเนินการโครงการเมื่อเสร็จสิ้นโครงการ

    5.0.2-1-01

    แผนการดำเนินการโครงการบริการวิชาการที่เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

    /

    5.0.2-1-02

    คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ประสานงานบริการวิชาการ

    /

    /

    5.0.2-1-03

    ฐานข้อมูลชุมชน ุ เอกสารแผนพัฒนาชุมชน วารสารเทศบาลฯ และ

    ภาพประกอบ

    /

    5.0.2-1-04

    รายงานการประชุมคณะกรรมการผู้ประสานงานบริการวิชาการ

    /

    5.0.2-1-05

    สรุปรายการโครงการบริการวิชาการโครงการหรือกิจกรรมนำร่องการบริการวิชาการในพื้นที่เป้าหมายโดยรอบหน่วยงาน ที่ดำเนินการเพื่อ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

    /

    2.

    บรรลุเป้าหมายตามแผนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80

    มีการประเมินผลการดำเนินการตามแผนว่ามีการดำเนินการบรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยพิจารณาผลการบรรลุเป้าหมายตามแผนที่ตั้งไว้

    5.0.2-2-01

    รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการที่ดำเนินการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก ที่แสดงผลการบรรลุเป้าหมายในการดำเนินการ

    /

    5.0.2-2-02

    รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำคณะ พิจารณาผลการดำเนินงานโครงการบริการวิชาการที่ดำเนินการเพื่อ เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอกตามเป้าหมายที่กำหนดในแผนดำเนินงาน

    /

    3.

    ชุมชนหรือองค์กรมีผู้นำหรือสมาชิกที่มีการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    มีผู้นำและสมาชิกของชุมชนหรือองค์การที่มีการเรียนรู้และเป็นแกนนำในการดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง

    5.0.2-3-01

    โครงการบริการวิชาการที่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่องกับชุมชน

    /

    5.0.2-3-02

    เอกสารที่แสดงการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก

    /

    5.0.2-3-03

    เอกสารที่แสดงการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

    /

    5.0.2-3-04

    รายชื่อผู้นำและสมาชิกชุมชนหรือองค์กรที่ได้รับการเรียนรู้และดำเนินกิจกรรมฐานความรู้ด้านต่างๆอย่างต่อเนื่อง

    /

    5.0.2-3-05

    เอกสารที่แสดงผลการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อเป็นฐานเรียนรู้ที่สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาและปรับใช้ในการประกอบอาชีพอย่างต่อเนื่อง

    /

    4.

    ชุมชนหรือองค์กรสร้างกลไกที่มีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน โดยคงอัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนหรือองค์กร

    มีกลไกในการพัฒนาตนเองอย่างยั่งยืนของชุมชนหรือองค์กร โดยนำเสนอระบบและกลไกในการพัฒนาตนเองของชุมชนหรือองค์กร ซึ่งผ่านการพิจารณาให้ความเห็นชอบจากชุมชนหรือองค์กร

    5.0.2-4-01

    เอกสารที่แสดงผลการเรียนรู้แบบบูรณาการเพื่อเป็นฐานเรียนรู้ที่สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาและปรับใช้ในการประกอบอาชีพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

    /

    5.0.2-4-02

    เอกสารแสดงการพัฒนาเองโดยยังคงวิถีชีวิต อัตลักษณ์และวัฒนธรรมของชุมชนหรือพัฒนาการดำเนินกิจการขององค์ภายนอก

    /

    5.0.2-5-03

    เอกสารแสดงการเปิดโอกาสให้ชุมชนแสดงความคิดเห็น หรือเสนอความต้องการ โดยผ่านเวที แลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชน และขององค์กรภายนอก เช่น การจัดเสวนา การถอดบทเรียนของแต่ละฐานความรู้

    /

    5.

    มีผลกระทบที่เกิดประโยชน์สร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน/องค์กรมีความเข้มแข็ง

    มีรายงานผลการพัฒนาชุมชนหรือองค์กร ซึ่งเกิดจากผลของการจัดโครงการ โดยพิจารณาผลกระทบที่ก่อให้เกิดประโยชน์และสร้างคุณค่าต่อสังคม หรือชุมชน หรือองค์กร

    5.0.2-5-01

    เอกสารประกอบที่แสดงผลการสำรวจความพึงพอใจ และผลกระทบที่เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต (Srivijaya FM 05-04)

    /

    5.0.2-5-02

    เอกสารประกอบที่แสดงผลกระทบที่เป็นประโยชน์ต่อคุณภาพการศึกษา

    /

    5.0.2-5-03

    เอกสารที่แสดงการมีรายได้เพิ่มและภาพประกอบแสดงความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของชุมชนหรือองค์กรมีความเข้มแข็ง

    /